วันจันทร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ข้อสอบสารชีวโมเลกุล

ข้อสอบสารชีวโมเลกุล
1. http://www.thaigoodview.com/library/exam/studentshow/st2546/4-7/no08/test01/index.html

2. http://www.vcharkarn.com/exam/index.php/set/794

3. http://gotoknow.org/blog/kroonit/157040

4. http://school.obec.go.th/mclschool/6.2.2/L2.htm

5. http://www.montfort.ac.th/mcs/dept/science/scienceteachers/nittaya/ex/biochem-test.html

6. http://www.trueplookpanya.com/true/examination_display.php?exam_id=247

7. http://www.proprofs.com/quiz-school/story.php?title=sasasasa_20

8. http://www.montfort.ac.th/mcs/dept/science/scienceteachers/nittaya/ex/morakul-test.html

9. http://www.curadio.chula.ac.th/program-og/classonair/doc52/ch-2009-12-18.pdf

10. http://www.room601.ob.tc/test2.html

เฮกเซน

เฮกเซนเป็นสารเคมีที่ใช้เป็นตัวทำละลายอยู่ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ใช้ผสมสีหรือกาวในงานเฟอร์นิเจอร์ งานพ่นหรืองานทาสี งานทากาวรองเท้า สำหรับโรงงานที่ใช้เฮกเซนได้แก่โรงงานอุตสาหกรรมน้ำมันพืช และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เฮกเซนเป็นของเหลวใสไม่มีสี ระเหยง่าย มีกลิ่นเฉพาะตัว ส่วนมากจะเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเอาไอระเหย แล้วถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด หรือเข้าสู่กระแสเลือดจากการสัมผัสทางผิวหนัง เมื่อสัมผัสสารที่เข้มข้นจะเกิดอาการแบบเฉียบพลัน คือ ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นของไอระเหยในอากาศ ซึ่งไม่ควรเกิน 1000 ส่วนในล้านส่วน อาการเฉพาะที่ได้แก่ ผิวหนังบวมแดง อาจมีตุ่มใส ถ้าเข้าตาทำให้กระจกตาขุ่น ระคายเคือง ถ้าได้รับความเข้มข้นต่ำต่อเนื่องนานกว่า 1 เดือน จะเริ่มมีอาการเบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลด ชาที่ปลายเท้าปลายนิ้ว ปวดกล้ามเนื้อคล้ายเป็นตะคริว กล้ามเนื้อจะอ่อนแรง ลีบถึงขั้นชาแขนเป็นอัมพฤกษ์อัมพาต อาการเหล่านี้ถ้ายังไม่ถึงขั้นรุนแรง จะทุเลาได้เมื่อหยุดสัมผัส และอาจกลับมาเป็นปกติได้หลังจากหยุดสัมผัสประมาณ 10 เดือน

วันจันทร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2553

แหล่งข้อมูลข้อสอบ O-net

1.http://www.vcharkarn.com/exam/index.php/set/794
2.http://www.sahavicha.com/?name=test&file=readtest&id=279
3.http://school.obec.go.th/mclschool/6.2.2/L2.htm
4.http://www.trueplookpanya.com/true/examinat...